Share for friends:

Read Contempt (2004)

Contempt (2004)

Online Book

Author
Genre
Rating
3.92 of 5 Votes: 5
Your rating
ISBN
1590171225 (ISBN13: 9781590171226)
Language
English
Publisher
nyrb classics

Contempt (2004) - Plot & Excerpts

อ่านสนุกครับ คงเป็นเพราะผมชอบน้ำเสียงในการเล่าและวิธีการเขียนแบบนี้คือ เขียนแบบมองย้อนกลับไปพินิจพิจารณาการกระทำและเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผ่านมาในอดีต แล้วตั้งข้อสังเกต/ข้อสมมุติฐานกับตัวเองไปเรื่อย ๆ จะเพื่อสร้างคำอธิบาย หรือเพื่อสร้างเรื่องเล่าอะไรก็ว่ากันไปในเรื่องนี้ "ผม" (ริคคาร์โด โมลแตนี) พยายามจะตอบคำถามหลาย ๆ อย่างที่รบกวนจิตใจ เริ่มจากที่วันหนึ่งเขารู้สึกว่าภรรยา (เอมิเลีย) เริ่มมีท่าทีเย็นชาหมางเมินจนเขารู้สึกว่าเธอไม่รักเขาแล้ว เมื่อได้คำตอบว่ามันเป็นอย่างนั้นจริง เขาก็พยายามค้นหาต่อไปอีกว่าสาเหตุอันใดหนอที่ทำให้ภรรยาซึ่งรักใคร่อยู่กินกันมานานสองปีถึงได้หมดรักลงง่าย ๆ แบบนี้ ซึ่งเขาจะไม่อาจสงบจิตสงบใจได้เลยหากไม่รู้สาเหตุของมันเขายอมทิ้งความฝันเรื่องการเป็นนักเขียนบทละคร มารับจ้างเขียนบทภาพยนตร์ซึ่งเขาชิงชังรังเกียจมัน เพื่อหาเงินผ่อนอพาร์ตเมนต์ ผ่อนรถ ก็เพราะอยากให้เธอมีความสุข ให้เธอเชื่อมั่นในตัวเขา วางใจในตัวเขา และเพราะมีเธอเป็นความหวังเป็นกำลังใจอยู่เบื้องหลัง เขาจึงอดทนทำงานที่ตัวเองรังเกียจมาได้จนถึงทุกวันนี้ แต่ก็นั่นแหละ พอรับรู้ความจริงว่าจู่ ๆ เธอก็หมดรักในตัวเขาและความสัมพันธ์มาถึงทางตัน เรี่ยวแรงพลังชีวิตที่มีก็หดหายไปพร้อม ๆ กับโครงการความฝันที่หยุดชะงักไว้กลางคันแต่ยิ่งเขาค้นหา ก็ยิ่งสับสนในวังวนความคิดของตัวเอง เมื่อไม่รู้ว่าอะไรคือสาเหตุของความผิดพลาดในความสัมพันธ์ ก็ยิ่งหัวเสีย สติแตก ปล่อยให้ความงี่เง่าร้อนรนค่อย ๆ ต้อนตัวเองเข้าสู่ทางตันขณะที่อ่านไปก็รู้สึกรำคาญมันอยู่ไม่น้อยว่าถ้ามึงนิ่งกว่านี้ สุขุมกว่านี้ ค่อย ๆ ปรับความเข้าใจกันไป ไม่ลนลานสติแตกจนทำให้อะไรต่าง ๆ แย่ลงกว่าเดิมแบบนี้ คงจะมีหวังกู้คืนความสัมพันธ์กลับมาได้บ้าง และถ้าเป็นไปได้ ก็ควรจะหยุดขุดค้นขุดคุ้ยหาสาเหตุจากเรื่องนั้นเรื่องนี้แบบคิดเองเออเองไว้สักพักก็ดี เพราะยิ่งทำตัวเป็นเสมือนนักสัญศาสตร์ในเรื่องที่เกี่ยวกับความสัมพันธ์มากเท่าไหร่ ก็ยิ่งเหมือนพาตัวเองเข้าสู่หายนะเร็วขึ้นเท่านั้นอดหมั่นไส้ตัวเอกไม่ได้ตรงที่มัน (พยายามจะ) มองตัวเองเป็นอารยชน เป็นปัญญาชนเสียเต็มประดา ในขณะเดียวกันก็สร้างภาพภรรยาว่าเป็นคนที่การศึกษาต่ำ คิดและสื่อสารความคิดในเชิงเหตุผลไม่ค่อยเป็น แต่ก็ดูราวกับว่าในความเป็นปัญญาชน ในกระบวนการคิดวิเคราะห์ ตั้งคำถาม ตั้งข้อสังเกตุอย่างเป็นเหตุเป็นผลในของตัวเอกนี่แหละ ที่พามันมาสู่ทางตันแบบไม่รู้ตัว (พฤติกรรมแบบที่ถ้าใช้คำของคุนเดอราก็ต้องบอกว่า "เป็นปัญญาชนมากเกินไป") ซึ่งตรงนี้ก็ดูเสียดเย้ยดีอีกประเด็นคือ ที่ภรรยามันไม่ยอมตอบมันอย่างตรงไปตรงมาซะทีว่าอะไรที่ทำให้เธอไม่รักมัน รังเกียจเหยียดหยามมัน หลังจากที่มันคาดคั้นเอาคำตอบอยู่หลายครั้ง นอกจากเรื่องที่ว่าเธอเองก็ไม่รู้สาเหตุแน่ชัดเหมือนกันแล้ว ผมคิดว่าเรื่องนี้เข้าใจได้ไม่ยากคือ การคาดคั้นแบบนี้มันเหมือนกับบังคับให้คนเรายอมรับว่าตัวเองไม่มีเหตุผลหรือไม่เข้าใจเหตุผลในสิ่งที่ตัวเองรังเกียจน่ะครับ (ซึ่งตัวเอกมันก็บอกเองว่าภรรยามันอยากรังเกียจมัน เหยียดหยามมัน จึงไม่ยอมเข้าใจอะไรเพื่อจะได้ตาสว่างซะที) มิพักต้องเอ่ยถึงว่าพอเธอพูดอะไรออกไป ตัวเอกมันก็แทบจะรอไล่ต้อนให้จนมุมอยู่แล้ว เพื่อจะได้สรุปสาเหตุของความหมางใจซะที ผลก็เลยออกมาเป็นความหงุดหงิดรำคาญใจทุกครั้งไปที่ถูกถามเรื่องนี้ ซึ่งก็ยิ่งซ้ำเติมความระหองระแหงเข้าไปอีก

قراءتي الثانية للروائي الإيطالي ألبيرتو مورافيا بعد "الهوان" وكانت تجربة مختلفة جداً لا علاقة لها بذلك الهوان، وأعتقد الآن أن هناك خللاً في ترجمتها بالإضافة أنها "من الممكن" أن تكون ترجمة مختصره، قد أقرأها يوما ما بالترجمة الإنجليزية لو صادفتني في إحدى المكتبات وللمهتمين فهي تحمل عنوان Two Womenولنعد الآن "للاحتقار"، هذه الرواية تكشف لنا قدرة الروائي أو موهبته في التحليل النفسي لردود الأفعال والمواقف المختلفة التي تعرَّض لها بطل هذه الرواية الذي يعاني من حب لزوجة تسبب الفارق الثقافي بينه وبينها والضائقة المالية في إحداث شرخ فيه وصل لحد احتقار زوجته له، وسعيه لفهم الأسباب واستعادة ذلك الحب من جديدلا أعرف لماذا وأنا أقرأ لم أتوقع نهاية مُرْضِية، فأنا كنت مستغرقة في ذلك التحليل ولذلك كانت النهاية رغم مأساويتها معقولة وغير مخيبة للآمال. هذه الرواية أعتبرها رواية شبه صامته من ناحية الأحاديث بين الشخصيات، ولكنها زاخرة بما يحدث داخل بطلها ولهذا أحببتهاملاحظة: أجلت كثيراً قراءة أوديسة هوميروس ولكن أعتقد أن وقتها قد حان لأن هذه الرواية مرتكزة كثيراً عليها__________________________________مقطع من الرواية:يقال أن الآلية هي التي تتيح لنا أن نعيش بلا تعب يتجاوز حدوده، وذلك حين تجعلنا غير واعين لمعظم حركاتنا. إن خطوة واحدة تتطلب تشغيل كمية من العضلات، ومع ذلك، فنحن نقوم بها من غير أن نعى ذلك، بفضل الآلية. وكذلك الأمر بالنسبة لعلاقاتنا مع الآخرين. أن نوعاً من الآلية السعيدة كان قد حكم حياتي المشتركة مع "اميلي"، وظللت مؤمناً بأنها تحبني؛ وفي سلوكي نحوها كان التفتح النهائي وحده هو الذي يشع على ضوء شعوري، بينما يظل الباقي كله في ظل عادة رقيقة وآلية. أما وأني قد تجردت الآن من وهم الحب، فقد كنت أعي كل عمل من أعمالي معها حتى أكثرها تفاهة...ويستمر هذا الهذيان وهو جالس مع زوجته يتناول العشاء بصمت

What do You think about Contempt (2004)?

260 صفحة أنهيتها في ليلة واحدة من المساء وحتى الصباح.وإذا أردت أن أكون حسن النية فيمكنني القول أن كثير من الأمور التي تشوب الحياة الزوجية وتعكرها تشبه إلى حد ما ما حدث في هذه الروايةأمر لا يقدره أحد طرفي الزواج قدره الصحيح، ويترك أثراُ عميقاً في نفس الطرف الآخر، تتفاقم الأمور، وتحتقن النفوس، ويرحل الحب وتموت والمودة رويداً رويداً، ثم يأتي الكره، وأخيراً الاحتقارلا أعلم ما هو الموقف الذي كان يجب أن أتخذه تجاه بطل الرواية...الاشمئزاز...العطف...الضرب...الإحباط...أدخلني في متاهة من المشاعر، واضطرني أن أتوقف في منتصف الرواية عن القراءة مؤقتاً لشدة ما آثار غضبي من تصرفاته،إلا أنه كان دوماً بأن يضع تحليلاً مقنعاً لحد ما يحدث بحسب وجهة نظره، وصحيح أن الكاتب نجح في تحليل الكثير من المواقف من ناحية نفسية، إلا أن بعض المواقف لا يمكن أبداً إلا أن تفسر تفسيراً واضحاً، وكمثال على ذلك...عندما طلبت اميلي منن زوجها بطل الرواية أن يأخذها في السفر معه ولا يدعها تسافر في سيارة رب عمله...وألحت في الطلب ...وطلبت منه ألا يدعه يأخذه، كيف لا يسأل نفسه لما تطلب منه زوجته ذلك، بل وياللمصيبة أنه قد وجد أنه من غير اللائق أن يرفض طلب رب عمله في اصطحاب زوجته لسبب تافهلقد كان يضحك على نفسه طوال الوقت وكان يعلم الحقيقة طوال الوقت، لكنه يرمي بالذنب على جهل زوجته وفقرها ومنبتها، ثم بعد ذلك يستغرب من استحقارها له.لقد كان يبدو بلا شرف وبلا رجولة وهو يرى شخصاً آخر يغوي زوجته، ويحاول أن يتصرف كيولويس المتحضر في ملحمة الأوديسة، في حين أنه كان يخشى من مواجهة باتيستا رب عملهالحقيقة أني لا ألوم الزوجة أبداً على أي أمر ستقدم عليه، فالأنثى مهما كانت تبقى تبحث عن رجل يحميها من باقي الذكور.كيف يستطيع الرجل أن يتناول كمية مضاعفة من الحب المنوم وهو يعلم أن زوجته بالغرفة المجاورة تخونه مع رجل آخر علماً أن زوجته تعلم أنه يعلم....كنت أرغب بالتقياً وأنا أشاهد هذه التصرفات.غريب بطل الرواية.....كيف له أن يعيش كل هذه الأحداث بعنف وحب وعاطفة، ثم يظهر في النهاية أنه قد قرر أن ينسى ما حدث.....ماتت الزوجة بفي النهاية ، لأنه لم يكن من الممكن وضع نهاية إلا بموت أحدهم، يعاب على المؤلف الكثرة في استخدام الايحاءات الجنسية، والأوصاف الجسدية، وهذا عموماً أمر متعارف عليه في الروايات الغربية فهم يبالغون في وصف الجمال وتفاصيله ( المبداً الجمالي أولاً ).ملاحظة أخرى بخصوص الترجمة العربية، فباعتقادي أن السنخة العربية كانت ذات ترجمة متوسطة أقرب للدريئة...هذا وقد تم انتاج سهرة تلفزيونية كويتية عمن هذه الروايةيستحق الكاتب ثلاث نجوم على الرواية، ليس لأني اتفق معه أو أوفقه في الآراء التي قدمها، بل لأن مهمة الروائي أن يجعلك تعيش وكأنك أنت بطل الرواية، وهذا ما فعله المؤلف ببراعة تامة، لدرجة أنني لم أنم حتى أنهيتها.
—M.Samer.Helo

I’m not even sure the author gets what is going on in this narrative. I’ve seen the movie and then read the book. The movie’s distance really captures what is going on, the comment on consumer society: as merely because you own something doesn’t mean you’ll ever possess it, let alone understand it.That being: Beauty. That’s what in this book everyone is trying to possess and understand. The woman possesses beauty but doesn’t own it. The writer understands it but doesn’t own or possess it. And the producer owns it but doesn’t understand or possess it. All of them fail to understand the nature of Beauty. If you understand it you understand it can't be owned or possessed. It's a time, like a wave one night cresting that you see for the first time on the beach that you’ve walked on for years and the moon shows you a light on the water mixed with feeling of sand in your toes that only lasts a heartbeat, and a second breath. That’s what they hold in contempt, seemingly. Beauty. But they do so because they don’t understand its nature, and thus it becomes destructive, something to be wary of, even not want, or even sadly… hold in contempt.
—Walter

Difficult to define why I liked this story. Perhaps it's because I have a soft spot for "the nice guy." The young, broke, newlywed, narrator husband is trying his best to financially support and please his beautiful, simple-minded wife, but all in vain. When the relationship begins to splinter over petty issues, he begins to doubt his reasons for compromising that which he loves (writing for theater) for the sake of a large film industry paycheck. Why did he give up his passion for this woman whose feelings seem to be changing? Why did he take on so much debt for her sake? The dark word usury hangs over his head threatening to descend and choke the life out of him. If she doesn't love him anymore then the job he despises, the money attains from it, and his raison d'etre all mean nothing. Hmmmm...is this how men typically think? I came upon the same attitude in "Do Androids Dream of Electric Sheep." For that male character as well, the fact that his wife might not love him and that he might never be able to make her happy sent him into a "what am I doing with my life?" tailspin. If she doesn't care, what is it all for? Poor guys. Both stories contained the idea that being unable to make a wife happy results in an emasculating reevaluation of a man's life purpose. How long has this theme existed in literature, I wonder? Maybe I liked this story because it was like watching a train wreck. I knew that demise was inevitable, and the husband was such a naive, inexperienced do-gooder, I knew things would not end well for his marriage. Plus it is always interesting to watch the demise of a marriage from the outside because you can see where fatal flaws are being made. As common as this situation is, a glimpse into it is rare. Wanting to wring the guy by the collar and yell at him to "just say what you mean!" or "stop pawing her!" or "stop being overly sensitive!" as he continually fumbled around trying to make sense of his relationship also kept me engaged. I also enjoyed relating to those stupid little issues that seem so fightworthy between couples at beginning of a relationship. Unfortunately, those petty little issues caused the "nice guy" husband to finish last.
—Jennifer

Write Review

(Review will shown on site after approval)

Read books by author Tim Parks

Read books in category Romance